รายละเอียดคำขอ
เลขที่คำขอ:
0901003593
วันที่ยื่นคำขอ
7/08/2552
วันที่รับคำขอ
7/08/2552
เลขที่ประกาศโฆษณา
104751
วันที่ประกาศโฆษณา
4/11/2553
เลขที่สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
94623
วันที่จดทะเบียน
30/06/2566
ชื่อการประดิษฐ์/ออกแบบ
หมึกพิมพ์สกรีนเรืองแสงฐานน้ำสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้าย
IPC/IDC
C09D 11/00
ผู้ขอ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้ประดิษฐ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภรณ์ นพคุณดิลกรัตน์, นางสาวชโลทร วิบูลย์ปัญญากุล, นางสาวเกวลี เจริญพูนสิริ
ตัวแทน
นายมงคล แก้วมหา
สถานะคำขอล่าสุด
ออกหนังสือสำคัญเรียบร้อยแล้ว
บทสรุปการประดิษฐ์
------23/06/2565------(OCR)
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับหมึกพิมพ์สกรืนเรืองแสงฐานนํ้าสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้ายซึ่งประกอบด้วย สารยึดจากธรรมชาติ สารปรับความหนืด สารสี สารเติมแต่ง และ ตัวทำละลายโดยที่สารยึดจากธรรมชาติที่เลือกใช้ ได้แก่ เจลาดิน และนํ้ายางธรรมชาติ สารปรับความหนืดที่เลือกใช้เป็นสารประเภทพอลิแซคคาไลด์ หรือกัมที่ละลายในนํ้า สารสีที่เลือกใช้ มี 2 ชนิด คือ สารสีบีตา-คอปเปอร์ฟธาโลไซยานีนบลู และสารสีเรืองแสงที่เป็นสารสีฟอสฟอเรสเซนต์ชนิดอัลคาไลน์เอิร์ตอะลูมิเนตหรือซิงก์ซัลไฟด์ สารเติมแต่งที่เลือกใช้ คือ ยูเรืย ส่วนตัวทำละลายที่เลือกใช้ คือ นํ้า
------------
DC60 (07/08/52)
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการเตรียมหมึกพิมพ์สกรีนเรืองแสงฐานน้ำสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้าย
ซึ่งประกอบด้วย สารยึดจากธรรมชาติ สารประกอบความหนืด สารสี สารเติมแต่ง และ ตัวทำละลาย
โดยที่สารยึดจากธรรมชาติที่เลือกใช้ ได้แก่ เจลาติน และน้ำยางธรรมชาติ สารปรับความหนืด
ที่เลือกใช้เป็นสารประเภทพอลิแซคคาไลด์ หรือกัมที่ละลายในน้ำ สารสีที่เลือกใช้ มี 2 ชนิด คือ สารสี
บีตาคอปเปอร์ทาโลไซยานินบลู และสารสีเรืองแสงที่เป็นสารสีฟอสฟอเรสเซนต์ชนิดอัลคาไลน์
เอิร์ตอะลูมิเนตหรือซิงก์ซัลไฟด์ สารเติมแต่งที่เลือกใช้ คือ ยูเรีย ส่วนตัวทำละลายที่เลือกใช้ คือ น้ำ
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการเตรียมหมึกพิมพ์สกรีนเรืองแสงฐานน้ำสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้าย
ซึ่งประกอบด้วย สารยึดจากธรรมชาติ สารประกอบความหนืด สารสี สารเติมแต่ง และ ตัวทำละลาย
โดยที่สารยึดจากธรรมชาติที่เลือกใช้ ได้แก่ เจลาติน และน้ำยางธรรมชาติ สารปรับความหนืด
ที่เลือกใช้เป็นสารประเภทพอลิแซคคาไลด์ หรือกัมที่ละลายในน้ำ สารสีที่เลือกใช้ มี 2 ชนิด คือ สารสี
บีตาคอปเปอร์ทาโลไซยานินบลู และสารสีเรืองแสงที่เป็นสารสีฟอสฟอเรสเซนต์ชนิดอัลคาไลน์
เอิร์ตอะลูมิเนตหรือซิงก์ซัลไฟด์ สารเติมแต่งที่เลือกใช้ คือ ยูเรีย ส่วนตัวทำละลายที่เลือกใช้ คือ น้ำ
ข้อถือสิทธิ
------23/06/2565------(OCR)
1.หมึกพิมพ์สกรนเรืองแสงฐานนํ้าสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้าย ซึ่งประกอบด้วย เจลาติน ในสัดส่วนร้อยละ 1 - 10 โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์ นํ้ายางธรรมชาติ ในสัดส่วนร้อยละ 5 - 15 โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์ สารปรับความหนืดที่เป็นสารประเภทพอลิแซคคาไลด์ หรือ กัมที่ละลายในนํ้าในสัดส่วนร้อยละ 1 - 10 โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์ สารสีบีตา-คอปเปอร์ฟธาโลไซยานีนบลูในสัดส่วนร้อยละ0.05-1.5โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์ สารสีฟอสฟอเรสเซนต์ชนิดอัลคาไลน์เอิร์ตอะลูมิเนต หรือชนิดซิงก์ซัลไฟด์ในสัดส่วนร้อยละ 1 - 10 โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์ ยูเสีย ในสัดส่วนร้อยละ 0.1-1 โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์ นํ้า ในสัดส่วนร้อยละ 50 - 92 โดยนํ้าหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์2. หมึกพิมพ์สกรนเรืองแสงฐานนํ้าสำหรับพิมพ์ผ้าฝ็ายตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสารปรับความหนืดตามที่กล่าวแล้ว เลือกจาก คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส
------------
1. หมึกพิมพ์สกรีนเรืองแสงฐานน้ำสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้าย ซึ่งประกอบด้วย
เจลาติน ในสัดส่วนร้อยละ 1 - 10 โดยน้ำหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึก
พิมพ์
น้ำยางธรรมชาติ ในสัดส่วนร้อยละ 5 - 15 โดยน้ำหนักขององค์ประกอบทั้งหมด
ในสูตรหมึกพิมพ์
สารปรับความหนืดที่เป็นสารประเภทพอลิแซคคาไลด์ หรือ กัมที่ละลายในน้ำ
ในสัดส่วนร้อยละ 1 - 10 โดยน้ำหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์
สารสีบีตาคอปเปอร์ทาโลไซยานินบลู ในสัดส่วนร้อยละ 0.05 - 1.5 โดยน้ำหนักของ
องค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์
สารสีฟอสฟอเรสเซนต์ชนิดอัลคาไลน์เอิร์ตอะลูมิเนต หรือชนิดซิงก์ซัลไฟด์
ในสัดส่วนร้อยละ 1 - 10 โดยน้ำหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึกพิมพ์
ยูเรีย ในสัดส่วนร้อยละ 0.1 - 1 โดยน้ำหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึก
พิมพ์
น้ำ ในสัดส่วนร้อยละ 50 - 92 โดยน้ำหนักขององค์ประกอบทั้งหมดในสูตรหมึก
พิมพ์
2. หมึกพิมพ์สกรีนเรืองแสงฐานน้ำสำหรับพิมพ์ผ้าฝ้ายตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสารปรับควมหนืด
ตามที่กล่าวแล้ว เลือกจาก คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส
รายละเอียดการประดิษฐ์
© 2021 DIP