เลขที่คำขอ: 0901005289
26/11/2552
26/11/2552
106542
15/03/2554
45656
26/08/2558
โครงสร้างการทำให้ฝาสูบเย็น
F01M 1/06 F01P 1/02 F02B 67/06 F02F 1/24 F02F 1/28
ฮอนดา มอเตอร์ โก., แอลทีดี.
นายทาเคชิ คานาเอะ , นายมาโคโตะ ซูซูกิ , นายนาโอกิ โคโนะ
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
แจ้งเพิกถอน (กรณีที่ไม่ชำระค่าธรรมเนียม)
DC60 (22/09/57)
ได้จัดให้มีโครงสร้างการทำให้ฝาสูบเย็น ซึ่งเพิ่มผลการทำให้เย็นบนฝาสูบและบนน้ำมันที่
ไหลไปบนผนังด้านก้นขึ้นโดยการทำให้ช่องทำให้เย็นใหญ่ขึ้น ในขณะที่คงการทำหน้าที่ส่งกลับ
น้ำมันไว้
โครงสร้างการทำให้ฝาสูบเย็นที่ซึ่งห้องสันดาป 14 ได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนด้านล่างของ
ฝาสูบ 7 และห้องขบวนเปิดปิดลิ้นที่กันแยกจากห้องเผาไหม้ 14 โดยผนังด้านก้นได้รับการจัดให้มีไว้
ในส่วนด้านบนของฝาสูบ ห้องโซ่ลูกเบี้ยว 51 ได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนทางข้างของฝาสูบ 7
ทางผ่านส่งกลับน้ำมันได้รับการจัดให้มีไว้บนผนังด้านก้น และช่องไอเสีย 16 ได้รับการจัดให้มีไว้
ระหว่างห้องเผาไหม้ 14 และห้องขบวนเปิดปิดลิ้น และในส่วนด้านหน้าของฝาสูบ 7 มีลักษณะเฉพาะ
ตรงที่ว่าช่องนำเข้าอากาศทำให้เย็น 60 ได้รับการจัดให้มีไว้ระหว่างช่องไอเสีย 16 และผนังด้านก้น
และผนังด้านก้นได้รับการทำให้เอียงเข้าหาห้องโซ่ลูกเบี้ยว 51 ในทิศทางแนวซ้าย-ขวาของ
ยานพาหนะ
ได้จัดให้มีโครงสร้างการทำให้ฝาสูบเย็น ซึ่งเพิ่มผลการทำให้เย็นบนฝาสูบและบนน้ำมันที่
ไหลไปบนผนังด้านก้นขึ้นโดยการทำให้ช่องทำให้เย็นใหญ่ขึ้น ในขณะที่คงการทำหน้าที่ส่งกลับ
น้ำมันไว้
โครงสร้างการทำให้ฝาสูบเย็นที่ซึ่งห้องเผาไหม้ 14 ได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนด้านล่างของ
ฝาสูบ 7 และห้องขบวนเปิดปิดลิ้นที่กันแยกจากห้องเผาไหม้ 14 โดยผนังด้านก้นได้รับการจัดให้มีไว้
ในส่วนด้านบนของฝาสูบ ห้องโซ่ลูกเบี้ยว 51 ได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนทางข้างของฝาสูบ 7
ทางผ่านส่งกลับน้ำมันได้รับการจัดให้มีไว้บนผนังด้านก้น และช่องไอเสีย 16 ได้รับการจัดให้มีไว้
ระหว่างห้องเผาไหม้ 14 และห้องขบวนเปิดปิดลิ้น และในส่วนด้านหน้าของฝาสูบ 7 มีลักษณะเฉพาะ
ตรงที่ว่าช่องนำเข้าอากาศทำให้เย็น 60 ได้รับการจัดให้มีไว้ระหว่างช่องไอเสีย 16 และผนังด้านก้น
และผนังด้านก้นได้รับการทำให้เอียงเข้าหาห้องโซ่ลูกเบี้ยว 51 ในทิศทางแนวซ้ายขวาของยานพาหนะ
1. โครงสร้างการทำให้ฝาสูบเย็นซึ่งห้องเผาไหม้ได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนด้านล่างของ
ฝาสูบ และห้องขบวนเปิดปิดลิ้นที่กันแยกจากห้องเผาไหม้โดยผนังด้านก้นได้รับการจัดให้มีไว้ใน
ส่วนด้านบนของฝาสูบ ห้องโซ่ลูกเบี้ยวได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนทางข้างของฝาสูบ ทางผ่าน
ส่งกลับน้ำมันได้รับการจัดให้มีไว้บนผนังด้านก้น และช่องไอเสียได้รับการจัดให้มีไว้ระหว่างห้อง
เผาไหม้และห้งขบวนเปิดปิดลิ้น และในส่วนด้านหน้าของฝาสูบ
ที่ซึ่งผนังด้านก้นจะได้รับการทำให้เอียงจากเหนือช่องไอเสียเข้าหาห้องโซ่ลูกเบี้ยวในทิศทาง
แนวซ้ายขวาของยานพาหนะเพื่อจัดให้มีช่องนำเข้าอากาศทำให้เย็นระหว่างช่องไอเสียและผนังด้าน
ก้น