เลขที่คำขอ: 0901005844
25/12/2552
25/12/2552
107856
12/05/2554
47854
29/01/2559
โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน
ฮอนดา มอเตอร์ โก., แอลทีดี.
นายโนบูทากะ โฮรี , นายริวจิ สึชิยะ , นายจุนจิ ไอฮาระ , นายคาซูโอะ ซาโตะ
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
แจ้งเพิกถอน (กรณีที่ไม่ชำระค่าธรรมเนียม)
DC60 (29/06/58)
ในการจัดให้มีโครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในที่ซึ่งเป็นไปได้ที่จะ
ทำให้มีความหนาของวัสดุของผนังโดยรอบรูปท่อของห้องข้อเหวี่ยงอย่างจำกัด ดังนั้นจึงเป็นการ
ยับยั้งการเพิ่มขึ้นในน้ำหนัก และเป็นการได้มาซึ่งความทนและความแข็งเกร็งตามที่ต้องการนั้น
โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในจะมีโครงสร้างที่ซึ่งทำให้
ผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ยื่นออกทางด้านนอกในทิศทางของเพลาข้อเหวี่ยงจากผนังด้านข้าง 31Rw
ของห้องข้อเหวี่ยง โดยที่ช่องเปิดในผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ได้รับการปิดครอบด้วยส่วนปิดครอบ
ตัวเรือน 77 และชิ้นยึดเครื่องยนต์ 18 ซึ่งก่อรูปขึ้นมาบนผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ได้รับการ
เชื่อมต่อกับและได้รับการรองรับไว้ด้วยโครงตัวถัง ในโครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงนี้
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน 78 ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้มีรูปร่างเป็นรูปวงแหวน
ตามแนวพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ 31c และโดยให้มีสภาพหนาในทิศทางตามแนวรัศมี
จะได้รับการยึดติดเข้ากับพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ 31c อย่างมั่นคงโดยที่จะให้ซ้อนทับ
กับชิ้นยึดเครื่องยนต์ 18 เป็นบางส่วน
แก้ไข 29/06/58
ในการจัดให้มีโครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในที่ซึ่งเป็นไปได้ที่จะ
ทำให้มีความหนาของวัสดุของผนังโดยรอบรูปท่อของห้องข้อเหวี่ยงอย่างจำกัด ดังนั้นจึงเป็นการ
ยับยั้งการเพิ่มขึ้นในน้ำหนัก และเป็นการได้มาซึ่งความทนและความแข็งเกร็งตามที่ต้องการนั้น
โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในจะมีโครงสร้างที่ซึ่งทำให้
ผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ยื่นออกทางด้านนอกในทิศทางของเพลาข้อเหวี่ยงจากผนังด้านข้าง 31Rw
ของห้องข้อเหวี่ยง โดยที่ช่องเปิดในผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ได้รับการปิดครอบด้วยส่วนปิดครอบ
ตัวเรือน 77 และชิ้นยึดเครื่องยนต์ 18 ซึ่งก่อรูปขึ้นมาบนผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ได้รับการ
เชื่อมต่อกับและได้รับการรองรับไว้ด้วยโครงตัวถัง ในโครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงนี้
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน 78 ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้มีรูปร่างเป็นรูปวงแหวน
ตามแนวพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ 31c และโดยให้มีสภาพหนาในทิศทางตามแนวรัศมี
จะได้รับการยึดติดเข้ากับพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ 31c อย่างมั่นคงโดยที่จะให้ซ้อนทับ
กับชิ้นยึดเครื่องยนต์ 18 เป็นบางส่วน
--------------------------------------------------------------------
ในการจัดให้มีโครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในที่ซึ่งเป็นไปได้ที่จะ
ทำให้มีความหนาของวัสดุของผนังโดยรอบรูปท่อของห้องข้อเหวี่ยงอย่างจำกัด ดังนั้นจึงเป็นการ
ยับยั้งการเพิ่มขึ้นในน้ำหนัก และเป็นการได้มาซึ่งความทนและความแข็งเกร็งตามที่ต้องการนั้น
โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในจะมีโครงสร้างที่ซึ่งทำให้
ผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ยื่นออกทางด้านนอกในทิศทางของเพลาข้อเหวี่ยงจากผนังด้านข้าง 31Rw
ของห้องข้อเหวี่ยง โดยที่ช่องเปิดในผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ได้รับการปิดครอบด้วยส่วนปิดครอบ
ตัวเรือน 77 และชิ้นยึดเครื่องยนต์ 18 ซึ่งก่อรูปขึ้นมาบนผนังโดยรอบรูปท่อ 31c ได้รับการ
เชื่อมต่อกับและได้รับการรองรับไว้ด้วยโครงตัวถัง ในโครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงนี้
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน 78 ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้มีรูปร่างเป็นรูปวงแหวน
ตามแนวพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ 31c และโดยให้มีสภาพหนาในทิศทางตามแนวรัศมี
จะได้รับการยึดติดเข้ากับพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ 31c อย่างมั่นคงโดยที่จะให้ซ้อนทับ
กับชิ้นยึดเครื่องยนต์ 18 เป็นบางส่วน
แก้ไข 29/06/58
1. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน (30) ซึ่งประกอบรวมด้วย:
ห้องข้อเหวี่ยง (31) สำหรับการรับเพลาข้อเหวี่ยง (40) ไว้อย่างหมุนได้ด้วยผนังด้านข้าง
(31Rw) โดยที่ห้องข้อเหวี่ยง (31) นั้นมีผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้ยื่นออก
ทางด้านนอกตามแนวทิศทางของเพลาข้อเหวี่ยงเลยไปจากผนังด้านข้าง (31Rw);
ส่วนปิดครอบตัวเรือน (77) ซึ่งปิดครอบช่องเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c); และ
ชิ้นยึดเครื่องยนต์ (18) ซึ่งก่อรูปขึ้นมาบนผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) โดยที่ชิ้นยึดเครื่องยนต์
(18) นั้นได้รับการเชื่อมต่อกับ และได้รับการรองรับไว้ด้วยโครงตัวถัง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน (78) ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้มีรูปร่างเป็นรูป
วงแหวนตามแนวพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) และโดยให้หนากว่าพื้นผิวปลายเปิด
ในทิศทางตามแนวรัศมีได้รับการยึดติดเข้ากับพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) อย่าง
มั่นคงโดยที่จะให้ซ้อนทับกับชิ้นยึดเครื่องยนต์ (18) อย่างเป็นบางส่วน
2. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมี
ลักษณะเฉพาะคือ
เครื่องยนต์สันดาปภายใน (30) เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบแกว่งเป็นชุด และ
ชิ้นยึดเครื่องยนต์ (18) ได้รับการเชื่อมต่อกับโครงตัวถังผ่านแกนหมุน (19)
3. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 1
หรือ 2 ซึ่งมีลักษณเฉพาะคือ
ปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) มีซอกเล็กซึ่งตัดออกบางส่วน (31v) และ
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือนรูปวงแหวน (78) ได้รับการยึดติดเข้ากับ
พื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) อย่างมั่นคงในลักษณะวางคร่อมซอกเล็ก (31v) นั้น
4. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3
ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน (78) รองรับหม้อน้ำ (75) ซึ่งถูกจัดวางบนด้าน
ตามแนวด้านข้างของห้องข้อเหวี่ยง (31)
5. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 3
หรือ 4 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ
แหวนร้อยสาย (67) สำหรับการผ่านสายเคเบิล (68) หรือสิ่งในทำนองเดียวกันจากด้านในไป
ยังด้านนอกของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) ได้รับการจัดวางไว้ในซอกเล็ก (31v) นั้น
-------------------------------------------------------
1. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน (30) ซึ่งประกอบรวมด้วย:
ห้องข้อเหวี่ยง (31) สำหรับการรับเพลาข้อเหวี่ยง (40) ไว้อย่างหมุนได้ด้วยผนังด้านข้าง
(31Rw) โดยที่ห้องข้อเหวี่ยง (31) นั้นมีผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้ยื่นออก
ทางด้านนอกตามแนวทิศทางของเพลาข้อเหวี่ยงเลยไปจากผนังด้านข้าง (31Rw);
ส่วนปิดครอบตัวเรือน (77) ซึ่งปิดครอบช่องเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c); และ
ชิ้นยึดเครื่องยนต์ (18) ซึ่งก่อรูปขึ้นมาบนผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) โดยที่ชิ้นยึดเครื่องยนต์
(18) นั้นได้รับการเชื่อมต่อกับ และได้รับการรองรับไว้ด้วยโครงตัวถัง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน (78) ซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยให้มีรูปร่างเป็นรูป
วงแหวนตามแนวพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) และโดยให้หนากว่าพื้นผิวปลายเปิด
ในทิศทางตามแนวรัศมีได้รับการยึดติดเข้ากับพื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) อย่าง
มั่นคงโดยที่จะให้ซ้อนทับกับชิ้นยึดเครื่องยนต์ (18) อย่างเป็นบางส่วน
2. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมี
ลักษณะเฉพาะคือ
เครื่องยนต์สันดาปภายใน (30) เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบแกว่งเป็นชุด และ
ชิ้นยึดเครื่องยนต์ (18) ได้รับการเชื่อมต่อกับโครงตัวถังผ่านแกนหมุน (19)
3. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 1
หรือ 2 ซึ่งมีลักษณเฉพาะคือ
ปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) มีซอกเล็กซึ่งตัดออกบางส่วน (31v) และ
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือนรูปวงแหวน (78) ได้รับการยึดติดเข้ากับ
พื้นผิวปลายเปิดของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) อย่างมั่นคงในลักษณะวางคร่อมซอกเล็ก (31v) นั้น
4. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3
ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ
ชิ้นประกอบเสริมความแข็งแรงของตัวเรือน (78) รองรับหม้อน้ำ (75) ซึ่งถูกจัดวางบนด้าน
ตามแนวด้านข้างของห้องข้อเหวี่ยง (31)
5. โครงสร้างห้องข้อเหวี่ยงสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 3
หรือ 4 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ
แหวนร้อยสาย (67) สำหรับการผ่านสายเคเบิล (68) หรือสิ่งในทำนองเดียวกันจากด้านในไป
ยังด้านนอกของผนังโดยรอบรูปท่อ (31c) ได้รับการจัดวางไว้ในซอกเล็ก (31v) นั้น